tophomemortgageloan.com

แอ พ Smart Switch

กระบวนการ ทำงาน ของ ไต

1. ผู้ป่วย case acute จาก ER, WARD ตามคำสั่งของแพทย์ 2. ผู้ป่วย acute Refer มาจากโรงพยาบาลอื่นๆ 3. ผู้ป่วย chronic เป็นโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย - รับจากโรงพยาบาลอื่นๆ มาขอฟอกเลือดต่อที่เรา case ใหม่ เริ่มฟอกเลือดที่เรา กลุ่มผู้ป่วย Acute: - ผู้ป่วยมีภาวะ uremia - ผู้ป่วย case ARF (acute renal failure) มีภาวะของ H yperkalemia / acidosis / fluid overload - ผู้ป่วยได้รับสารพิษต่างๆ Chronic: ผู้ป่วยโรคไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่เลือกวิธีรักษาการทดแทนไตโดยการฟอกเลือด การให้บริการ: บริการพยาบาลผู้ป่วยไตเทียมแบบไป - กลับ กระบวนการหลักในการทำงานห้องไตเทียม 1. การดูแลระบบน้ำ 2. การเตรียมเครื่องไตเทียม - Rinse เครื่อง 16 นาที - Test เครื่องก่อนใช้งาน 10 3. การเตรียมตัวกรองและสายนำเลือด - ล้างตัวกรองด้าน Dialysate part ด้วยน้ำ RO 1 Blood compartment และสายนำเลือดด้วย NSS 3000 cc. 4. การเตรียม - การดูแลผู้ป่วยก่อนเข้าเครื่องไตเทียม - ซักถามอาการผิดปกติหลังจากการฟอกครั้งก่อน / อาการระหว่างอยู่ที่บ้าน / อาการระหว่างเดินทางมาที่โรงพยาบาล - ตรวจร่างกาย วัดสัญญาณชีพ ชั่งน้ำหนัก ประเมิน Vascular access 5.

  1. ดูแลไตให้ดี ได้สุขภาพดี • รามา แชนแนล
  2. ระบบปัสสาวะ - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

ดูแลไตให้ดี ได้สุขภาพดี • รามา แชนแนล

กลู โคส กลู โคส ที่ กรอง ออก มา จะ ถูก ดูด กลับ หมด ที่ หลอด ไต ฝอย ส่วน ต้น เชื่อ ว่า การ ดูด กลับ โดย อาศัย เอนไซม์ ฟอสฟอ รีเลส (phosphorylase) คือ จะ รวม เป็นกลู โคส -๖- ฟอสเฟต (glucose-6-phosphate) เมื่อ เข้าไป ใน เซลล์ แล้ว จะ ปล่อย ฟอสเฟต ออก มา ถ้ากลู โคส ใน เลือด มี มาก กว่า ๑๖๐-๑๘๐ มิลลิกรัม ต่อ ๑๐๐ มิลลิลิตร จะ ถูก ขับ ออก มา ใน ปัสสาวะ ทั้ง นี้ เพราะ ว่า เกิน จำนวน ของ เอนไซม์ ที่ มี อยู่ ความ สามารถ ของ ไต ที่ จะ ดู ดกลู โคส ได้ ใน ชาย ๓๗๕ มิลลิกรัม/นาที และ ใน หญิง ๓๕๐ มิลลิกรัม/นาที ๓. สาร ที่ เป็น ผล จากเม ตา โบ ลิ ซึม ร้อย ละ ๔๐ ของ ยู เรีย ถูกดูด กลับ ตลอด ทาง เดิน ของ หลอด ไต ฝอย ส่วนค รี เอ ตินีน ไม่ ถูก ดูด โดย หลอด ไต ฝอย หาก ยัง ถูก ขับ ออก มา บ้าง ที่ หลอด ไต ฝอย ส่วน ต้น จึง ทำ ให้ค รี เอ ตินีน ที่ขับ ออก มา ใน ปัสสาวะ มี ปริมาณ เพิ่ม จาก ที่ กรอง ออก มา อีก ร้อย ละ ๔. อิ เล็ก โทรไลต์ มี กล ไก การ ขน ส่ง ผ่าน หลอด ไต ฝอย คือ โซเดียม ที่กรอง ออก มา จะ ถูก ดูด กลับ ที่ หลอด ไต ฝอย ส่วน ต้น ประมาณ ร้อย ละ ๙๐ โดย กล ไกแอ็ค ทีฟ อีก ร้อย ละ ๑๐ ถูก ดูด กลับ ที่ หลอด ไต ฝอย ส่วน ปลาย โดย การ สร้าง โพแทสเ ซี ยม ออก มา แลก เปลี่ยน ร้อย ละ ๙ อีก จำนวน เล็ก น้อย เพียง ร้อย ละ ๑ ถูก ดูด กลับ โดย แลก เปลี่ยน กับ ไฮโดรเจน ไอออน ที่ หลอด ไต ฝอย สร้าง ขึ้น การ ดูด ซึม น้ำ กลับ มี กล ไก แยก ได้ เป็น ๒ ตอน คือ ก.

กระบวนการทำงานของไตในการทำให้เกิดน้ำปัสสาวะ ไตผลิตปัสสาวะได้โดยผ่านกระบวนการพื้นฐานที่สำคัญ 3 ขั้นตอน คือ 1) Ultrafiltration 2) Tubular secretion 3) Tubular reabsorption 1. Ultrafiltration (การกรอง) เป็นขั้นแรกในการทำให้เกิดปัสสาวะขึ้นที่ glomerulus โดยการกรองเอาพลาสมา แต่ไม่รวมถึงโปรตีนหรือทุกอย่างที่มีอยู่ในพลาสมาจะถูกกรองหมด ยกเว้นโปรตีนและเม็ดเลือดจาก glomerulus ลงไปยัง Bowman's capsule ต่อจากนั้นของเหลวก็จะไหลผ่านไปยังท่อไตส่วนต่างๆ ขณะที่ผ่านไปในท่อไตของเหลวที่ถูกกรองมาจาก glomerulus ซึ่งเรียกว่า filtrate จะถูกทำให้องค์ประกอบเปลี่ยนแปลงไปโดยกระบวนการอีก 2 อย่าง คือการดูดกลับและการขับออกของสารบางอย่างโดยท่อไต 2. Tubular secretion (การขับออก) คือการขนถ่ายสารจากเลือด (peritubular capillaries) เข้าไปยังท่อไต กระบวนการนี้เป็น selective process หมายความว่า ไม่ใช่สารทุกตัวในเลือดจะถูกขับออกมาในท่อไตหมด จะมีเฉพาะบางตัวเท่านั้น เช่น PAH ( p-aminohippuric acid) และ H+ เป็นต้น 3. Tubular reabsorption (การดูดกลับ) คือ สารบางตัวที่เป็นประโยชน์จะถูกดูดกลับจากท่อไตกลับเข้าเส้นเลือด เช่น glucoseและ Na+ เป็นต้น ในคน วันๆหนึ่ง พลาสมาจะถูกกรองที่ glomerulus ประมาณ 180 ลิตร แต่ปัสสาวะที่ถูกขับออกมาปกติเพียง 1.

  • [SUNNY มีสาระ ] กระบวนการการทำงานของไต 3 ขั้นตอน
  • วัด ชล อ รัตนาราม
  • Trek 1.2 2013 ราคา
  • ราคา benz c250 r

ระบบปัสสาวะ - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

เราช่วยเหลือไตได้ เพื่อให้กระบวนการกำจัดสารพิษทำงานได้อย่างสมบูรณ์ ด้วย 5 ข้อนี้ 1. เลือกรับประทานอาหารที่ดีต่อสุขภาพ ผักและผลไม้สด ธัญพืชเต็มเมล็ดแทนธัญพืชที่ผ่านการขัดสีแล้ว อาหารที่มีกรดไขมันโอเมก้า-3 สูง เช่น ถั่ว ปลาที่มีไขมันสูง จำกัดการรับประทานเนื้อแดง และอาหารที่มีไขมันสูง หลีกเลี่ยงเนื้อสัตว์แปรรูปประเภทเนื้อหมัก เนื้อกระป๋อง และมันฝรั่งทอด เกลือไม่เกิน 1 ช้อนชาต่อวัน และน้ำตาลไม่เกิน 6 ช้อนชาต่อวัน 2. ดื่มน้ำให้มากขึ้น ดื่มน้ำวันละ 6-8 แก้วต่อวัน การดื่มน้ำช่วยสนับสนุนให้ระบบต่างๆ ทำงานได้อย่างราบรื่น กรองสารพิษออกจากเลือดและขับสารพิษทางปัสสาวะ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีน้ำตาลสูง หรือบรรดา soft drink ทั้งหลาย 3. ไม่สูบบุหรี่ สารพิษที่อยู่ในบุหรี่จะเข้าไปในกระแสเลือด และส่งผลต่อหัวใจและไต คนสูบบุหรี่มีแนวโน้มที่จะตกอยู่ในภาวะไตวายมากถึง 3 เท่า เมื่อเทียบกับคนที่ไม่สูบบุหรี่ 4. หลีกเลี่ยงการกินยาแก้ปวดต้านการอักเสบ โดยเฉพาะยาแก้ปวดต้านการอักเสบที่ต้องทานหลังอาหารทันทีมักมีพิษต่อไต และการทานยาติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจะเร่งให้การทำงานของไตเสื่อมถอยลง 5. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ช่วยทำให้กระบวนการเผาผลาญทำงานดีขึ้น กระตุ้นการกำจัดของเสียที่สะสมในเลือด ช่วยควบคุมความดันโลหิต ข้อมูลโดย ผศ.

  1. โหลด adobe pdf document