tophomemortgageloan.com

แอ พ Smart Switch

สรุป กฎหมาย เบื้องต้น

กฎหมายที่ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง ได้แก่ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ข้อบัญญัติเมืองพัทยา ข้อบัญญัติจังหวัด เทศบัญญัติ และข้อบังคับสุขาภิบาลเป็นกฎหมายที่มีพระราชบัญญัติการจัดตั้งองค์กรปกครองตนเองอันเป็นการบริหารส่วนท้องถิ่นนั้นๆ ให้มีอำนาจออกกฎหมายบังคับใช้เฉพาะท้องถิ่นเท่านั้น สรุปสาระสำคัญ 1. ลักษณะสำคัญของกฎหมายมี 5 ประเภท 1. กฎหมายต้องมาจากรัฎฐาธิปัตย์ 2. กฎหมายเป็นคำสั่งหรือข้อบังคับที่ใช้ทั่วไป 3. กฎหมายเป็นข้อบังคับที่ใช้ได้เสมอไป 4. กฎหมายเป็นข้อบังคับที่ต้องปฏิบัติตาม 5. กฎหมายต้องมีสภาพบังคับ 2. ที่มาของกฎหมายไทย ได้แก่ 1. กฎหมายลายลักษณ์อักษร 2. กฎหมายจารีตประเพณี 3. กฎหมายทั่วไป 4. ประเภทของกฎหมาย ได้แก่กฎหมายรัฐธรรมนูญ พระราชบัญญัติ ประมวลกฎหมาย พระราชกำหนด พระราชกฤษฎีกา กฎกระทรวง ประกาศ ระเบียบข้อบังคับ คำสั่ง และกฎหมายที่ออกโดยองค์การปกครองตนเอง สั่งซื้อที่ ส่งเป็นไฟล์ทางอีเมล์ สนใจสั่งซื้อมาที่ โทร 085-0127724 Line: testthai1 สามารถนำไปปริ้นเพื่นอ่านได้เลย ในราคาเพียงส่ชุดละ 399 บาท ได้รับภายใน 2-3 ชม. ส่ง EMS ทางไปรษณีย์ เป็นหนังสือ +MP3 ราคา 679 บาท ได้รับภายใน 2-3 วัน กรุณาชำระค่าสินค้าและบริการ เลขที่บัญชี 491-2-00428-2 ธ.

สรุปสาระสำคัญ วิชาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายทั่วไป (ครั้งที่ 2)

พระราชกำหนด ( พ. ก. )

  1. สรุปเนติฯ เล่มที่15 วิ.แพ่ง ภาค1 อ.สมชัย ฑีฆาอุตมากร ครั้งที่9 สมัยที่74 | ดาวน์โหลดข้อมูลกฎหมาย ฏีกา 5ดาว เตรียมสอบ เนติ อัยการ ผู้พิพากษา อัพเดท ที่ LawSiam.com
  2. ดูหนัง Frozen II (2019) ผจญภัยปริศนาราชินีหิมะ [Full-HD] - Page 2 of 4 - นานามูฟวี่ส์
  3. 19. ความรู้เบื้องต้นทางกฎหมาย - อ.สิริภัทร ชื่นค้า - YouTube
  4. หลวง พ่อ รวย 58
การให้บริการรักษาพยาบาลของสถานพยาบาลทางราชการและเอกชน 13. การให้บริการห้องสมุด พิพิธภัณฑ์ สวนสัตว์ 14. การให้บริการจัดแข่งขันกีฬาสมัครเล่น 15. การให้บริการประกอบโรคศิลปะ การสอบบัญชี การว่าความ 16. การให้บริการของนักแสดงสาธารณะ 17. การให้บริการที่เป็นงานทางศิลปะและวัฒนธรรม ในสาขาและลักษณะการประกอบกิจการที่อธิบดีกำหนดโดยอนุมัติรัฐมนตรี 18. การให้บริการวิจัย หรือการให้บริการทางวิชาการ ซึ่งต้องมีลักษณะการประกอบกิจการตามที่กรมสรรพากรกำหนด คือ ต้องเป็นการวิจัยหรือบริการทางวิชาการสาขาวิทยาศาสตร์และสาขาสังคมศาสตร์ แต่ต้องมิใช่เป็นการกระทำในทางธุรกิจ ทั้งนี้ ผู้ประกอบการต้องเป็นบุคคลธรรมดาหรือเป็นคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล หรือมูลนิธิ 19. การให้บริการตามสัญญาจ้างแรงงาน 20. การให้บริการเช่าอสังหาริมทรัพย์ 21. การให้บริการของราชการส่วนท้องถิ่น ทั้งนี้ไม่รวมถึงบริการที่เป็นการพาณิชย์ของราชการส่วนท้องถิ่น หรือเป็นการหารายได้ หรือผลประโยชน์ไม่ว่าจะเป็นกิจการสาธารณูปโภคหรือไม่ก็ตาม 22. การขายสินค้าหรือการให้บริการของกระทรวง ทบวง กรม ซึ่งส่งรายรับทั้งสิ้นให้แก่รัฐโดยไม่หักรายจ่าย 23. การขายสินค้าหรือการให้บริการเพื่อประโยชน์แก่การศาสนา หรือการสาธารณกุศลภายในประเทศ ซึ่งไม่นำผลกำไรไปจ่ายในทางอื่น 24.

สรุปกฎหมายเบื้องต้น

การทำนิติกรรมของคนเสมือนไร้ความสามารถ โดยทั่วไป สามารถทำนิติกรรมได้ตามปกติ ทำได้เอง มีผลสมบูรณ์ ยกเว้น นิติกรรม ตามมาตรา 34 (1) - (11) ต้องได้รับความยินยอมจากผู้พิทักษ์ หากไม่ได้รับความยินยอม นิติกรรมตกเป็นโมฆียะ 17. การสิ้นสุดการเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถ 17. 1 เหตุบกพร่องที่ทำให้เป็นคนเสมือนไร้ความสามารถตามมาตรา 32 สิ้นสุดลง 17. 2 คนเสมือนไร้ความสามารถ มีอาการวิกลจริตหนักขึ้น จนถูกศาลสั่งให้เป็นคนไร้ความสามารถตามมาตรา 33 17. 3 คนเสมือนไร้ความสามารถตาย คำสั่งของศาลที่ถอนคำสั่งเดิม ต้องประกาศในราชกิจจานุเบกษาด้วย ----------หัวข้อ นิติบุคคล---------- 18. เมื่อเป็นนิติบุคคลแล้ว ก็จะมีสิทธิหน้าที่ต่างๆ ตามกฎหมายได้ แต่ต้องอยู่ภายใต้ขอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคล 19. ประเภทของนิติบุคคล 19. 1 นิติบุคคลตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ - สมาคม - มูลนิธิ - หุ้นส่วนบริษัท (ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล, ห้างหุ้นส่วนจำกัด, บริษัทจำกัด) 19. 2 นิติบุคคลตามกฎหมายอื่น เช่น - พ. ร. บ. บริษัทมหาชนจำกัด - พ. ระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน - องค์การบริหารส่วนจังหวัด - เทศบาล - มหาวิทยาลัยรามคำแหง - วัด - บริษัทที่จดทะเบียนต่างประเทศ (คำพิพากษาศาลฎีกาที่ 2357/2520) 20.

สรุปกฎหมายเบื้องต้น

สิทธิหน้าที่ของนิติบุคคล 20. 1 ตามที่กฎหมายกำหนด 20. 2 ตามข้อบังคับหรือตราสารจัดตั้งนิติบุคคล 21. ภูมิลำเนาของนิติบุคคล 21. 1 ถิ่นที่ตั้งสำนักงานใหญ่ หรือที่ตั้งที่ทำการ 21. 2 ภูมิลำเนาเฉพาะการตามข้อตกลงหรือตราสาร 21. 3 ถิ่นของสำนักงานสาขาที่กิจการนั้นได้ทำขึ้น กรณีที่ไม่มีสาขาในประเทศ มีแต่ตัวแทนของตัวการซึ่งอยู่ต่างประเทศ ไม่ถือว่า ที่อยู่ของตัวแทนเป็นภูมิลำเนาของนิติบุคคล (รับผิดด้วยตนเอง ตามมาตรา 824) 22. การจัดการนิติบุคคล การแสดงเจตนาต่างๆ ของนิติบุคคล ต้องผ่านบุคคลธรรมดา อาจเป็นคนเดียวหรือหลายคนก็ได้ ซึ่งเรียกว่า ผู้แทนของนิติบุคคล 23. กิจการที่ผูกพันนิติบุคคล 23. 1 กระทำตามหน้าที่ภายใต้ขอบวัตถุประสงค์ของนิติบุคคล 23. 2 แม้การกระทำดังกล่าวจะทำให้ผู้อื่นเสียหาย 23. 3 นิติบุคคลต้องผูกพันต่อการกระทำนั้น 23. 4 แต่สามารถไล่เบี้ยกับผู้ที่ก่อความเสียหายได้ ----------หัวข้อ สิทธิ---------- 24. สิทธิ หมายถึง ประโยชน์ที่ได้รับรองและคุ้มครองโดยกฎหมาย ซึ่งสามารถพิจารณาได้ 4 ลักษณะ คือ 24. 1 สิทธิในตัวบุคคล 24. 2 สิทธิในทรัพย์สิน 24. 3 สิทธิในครอบครัว 24. 4 สิทธิทางการเมือง 25. องค์ประกอบของสิทธิ 25.