tophomemortgageloan.com

แอ พ Smart Switch

คำ นาม ป 5, ชนิดของคำนามแบ่งได้ 5 ชนิด - กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนบ้านลำแก่น

คำนาม ป. 4: คำนามสามัญ คำนามวิสามัญ - YouTube

ชนิดและหน้าที่ของคำนาม - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป.4 - YouTube

ชนิดและหน้าที่ของคำนาม - สื่อการเรียนการสอน ภาษาไทย ป. 4 - YouTube

สมุหนาม คือ คำนามบอกหมวดหมู่ของสามานยนาม และวิสามานยนามที่รวมกันมาก ๆ ได้แก่คำว่า คณะ กอง หมู่ ฝูง โขลง พวก กลุ่ม ฯลฯ ตัวอย่าง – โขลงช้างทำลายไร่ข้าวโพดเสียหายหมด ฝูงนกพากันออกหากิน กองทหารรักษาการณ์อยู่ตลอดเวลา 5. อาการนาม คือ คำเรียกนามธรรม คือใช้เรียกสิ่งที่ไม่มีรูปร่าง ไม่มีขนาดแต่สามารถเข้าใจได้ ส่วนใหญ่จะมีคำว่า "การ" และ "ความ" นำหน้า คำว่า "การ" จะนำหน้าคำกริยา เช่น การเรียน การเล่น การวิ่ง การเดิน การกิน การอ่าน เป็นต้น คำว่า "ความ" 1. ใช้นำหน้าคำกริยาที่เกี่ยวกับจิตใจ หรือมีความหมายในทางเกิด มี เป็น เจริญ เสื่อม เช่น ความคิด ความฝัน ความรัก ความตาย ความทุกข์ ความเจริญ เป็นต้น 2. ใช้นำหน้าคำวิเศษณ์ เช่น ความดี ความเร็ว ความสูง ความถี่ ความหรูหรา เป็นต้น ข้อควรสังเกต คำว่า "การ" และ "ความ" ถ้าไม่ได้นำหน้าคำกริยาและคำวิเศษณ์ จะเป็นคำ สามานยนาม เช่น การบ้าน การเรือน การไฟฟ้า การประปา ความแพ่ง ความอาญา เป็นต้น หมายเหตุ 1.

noun คำนาม คำนามเป็นคำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ และนามธรรม เช่น student, policeman, dog, snake, airport, river, television, sugar, love, etc. 3. 1. 1 ประเภทของคำนาม แบ่งได้ดังนี้ 1) คำนามทั่วไป (common noun) เป็นคำที่ใช้เรียกชื่อคน สัตว์ สถานที่ สิ่งของ สภาวะทั่วๆ ไป เช่น man, panda, city, day 2) คำนามเฉพาะ (proper noun) เป็นคำที่ใช้เรียกชื่อคนหนึ่งคนใด สิ่งของหนึ่งสิ่งของใด สถานที่หนึ่งสถานที่ใดโดยเฉพาะ เช่น man เป็น common noun David เป็นชื่อเฉพาะเรียก man คนหนึ่ง panda เป็น common noun Linping เป็นชื่อเฉพาะเรียก panda ตัวหนึ่ง city เป็น common noun London เป็นชื่อเฉพาะเรียก city แห่งหนึ่ง day เป็น common noun Saturday เป็นชื่อเฉพาะเรียก day วันหนึ่ง ชื่อวันและเดือนต้องเป็นคำนามเฉพาะ เช่น Monday, Tuesday, etc. January, February, March, etc. คำนามเฉพาะ ( proper noun) ต้องเขียนอักษรตัวแรกของคำด้วยอักษรตัวใหญ่ ( capital letter) 3) คำนามนับได้ ( countable noun) คือคำนามที่นับจำนวนได้ จึงมีรูปเอกพจน์ ( singular form) และรูปพหูพจน์ ( plural form) การเปลี่ยนรูปเอกพจน์เป็นรูปพหูพจน์มีดังนี้ กลุ่มที่ 1 คำนามส่วนมาก เติม s ที่รูปเอกพจน์เมื่อต้องการรูปพหูพจน์ เช่น คำต่อไปนี้ Singular Form Plural Form boy boys table tables teacher teachers กลุ่มที่ 2 คำนามที่ลงท้ายด้วย o, ch, s, ss, sh, x, และ z ต้องเติม es Singular Form potato potatoes watch watches bus buses glass glasses brush brushes ข้อยกเว้น 1.

  • คำ นาม ป 5.6
  • คำนาม ป.4 : คำนามสามัญ คำนามวิสามัญ - YouTube
  • Noun - ภาษาอังกฤษ สำหรับชั้นป.5
  • โรงเรียนบ้านม่วงชุม | momandbaby portal
  • ของ แถม แบรนด์
  • แผนการสอนภาษาอังกฤษ ป.3 เรื่อง Nouns (คำนาม) - GotoKnow

ภาษาไทย เรื่อง คํานาม | o0tawansansila0o

แม่ได้เตรียมแผนการสอนวิชาภาษาอังกฤษ ป.

4. ภาษาไทย คำนาม คือ คำที่ใช้เรียกชื่อ คน สัตว์ สิ่งของ อาการ สภาพ และลักษณะสถานที่ ทั้งสิ่งที่มีชีวิต และไม่มีชีวิต ทั้งรูปธรรมและนามธรรม คำนามแบ่งออกเป็น 5 ชนิด คือ 1. สามานยนาม คือ คำนามสามัญที่ใช้เรียกชื่อสิ่งของต่าง ๆ โดยไม่เจาะจง หรือชี้เฉพาะ เช่น คน แม่ ไก่ ถนน บ้าน เป็นต้น สามานยนามบางคำมีคำย่อยบอกชนิดย่อย ๆ ของนามนั้น เช่น คนไทย แม่บ้าน ไก่แจ้ โรงเรียนมัธยมศึกษา เป็นต้น ตัวอย่าง – แมวชอบกินปลา หนังสืออยู่บนตู้ วิชาเป็นบ่อเกิดแห่งปัญญา 2. วิสามานยนาม คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อเฉพาะของคน สัตว์ สิ่งของ หรือคำเรียกบุคคล สถานที่ เพื่อเจาะจงว่าเป็นคนไหน สิ่งใด ที่ไหน เช่น โรงเรียนพนัสพิทยาคาร นวนิยาย เรื่อง แฮร์รี่ พอตเตอร์ อำเภอพนัสนิคม นางสาวราตรี เป็นต้น ตัวอย่าง – ปฐมาภรณ์และวทันยาเป็นเพื่อนสนิทกัน พระพุทธชินราชเป็นพระพุทธรูปที่งดงามมาก วรวรรณไปสมัครงานที่กระทรวงสาธารณสุข 3.

คํานามป 5

ชนิดของคำนามแบ่งได้ 5 ชนิด 1. คำนามสามัญ หรือ สามานยนาม คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อทั่ว ๆ ไป ของคน สัตว์ สิ่งของ เช่น นักเรียน ปลา ยางลบ ดินสอ ฯลฯ 2. คำชื่อเฉพาะ หรือ วิสามานยนาม คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อเฉพาะ ของคน สัตว์ สิ่งของ สถานที่ เช่น พระอภัยมณี สุนทรภู่ โรงเรียนคลองกิ่วยิ่งวิทยา ฯลฯ 3. คำนามรวมหมู่ หรือ สมุหนาม คือ คำนามที่ใช้เรียกชื่อหมู่ กอง หรือ คำนามที่อยู่รวมกันเป็นหมู่ เช่น กองทหาร ฝูงกวาง คณะนักเรียน พรรคการเมือง ฯลฯ 4. คำนามธรรม หรือ อาการนาม คือ คำนามที่เกิดจาก " การ " หรือ " ความ " นำหน้าคำวิเศษณ์ เช่น การกิน การเล่น การเรียน ความรัก ความดี ความคิด ฯลฯ 5. คำนามบอกลักษณะ หรือ ลักษณะนาม คือ คำนามที่แสดงลักษณะ ของนาม เช่น ไข่เป็นฟอง น้ำเป็นแก้ว ปลาตะเพียนเป็นตัว นักเรียนเป็นคณะ ฯลฯ